9 tips for your New Year’s money resolutions เตล็ดลับสำหรับการวางแผนการเงินสำหรับปีใหม่นี้

ที่มาจาก Fidelity หัวข้อ 9 Tips for your New Year’s money resolution และแปลคร่าวตามความเข้าใจ ในฐานะที่เป็นนักบัญชีและก็ลงทุนในตลาดหุ้นอเมริกานะคะ

เนื่องจากดิฉันเองมีการลงทุนการออมแบบต่อเนื่องตั้งแต่อยุ่ที่ประเทศไทยก่อนมาอเมริกา แค่ช่วงเวลาที่ไทยไม่ได้ลงทุนในตลาดหุ้นค่ะ แค่ออมเงินและซื้ออสังหาเท่านั้น.  มาอยู่อเมริกาอาจจะพ่อสามีนั้นเป็นนายแบงค์และเห็นตัวอย่างการเงินที่มั่นคงของคนที่เริ่มมาจาก 0 และก็ทำงานปรจำ จึงทำให้ออม 20-25% of gross income ก่อนใช้ค่ะ.  มีเท่าไรก็ใช้เท่านั้น ออมเงินก่อนแล้วกันว่ะ. Fidelity เรียงไว้ 9 จุดค่ะ.

1. Inventory your finances: Review your income, expenses, debt balances, and the interest rates you’re paying กลับมาดูว่าทั้งครอบครัวมีรายได้เข้ามาเท่าไร ค่าใช้จ่ายเท่าไร หนี้สินเท่าไรที่ต้องจ่าย อัตราดอกเบี้ยเท่าไรที่เราจ่าย

  • What is your monthly take-home pay?  รับเงินเดือนเอากลับมาบ้านเท่าไร
  • How much do you pay for essential expenses, like food, health insurance and housing? ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นภายในครอบครัว ค่าอาหาร ค่าประกันสุขภาพ ค่าผ่อนบ้านหรือเช่าบาน
  • How much do you typically spend on nonessential expenses, like entertainment and shopping? เราชอบเพื่อความสุขส่วนตัวเท่าไร
  • And if you have debt, what are your balances, interest rates, and minimum payments? Payments on debt should be considered part of your essential expenses. แล้วถ้ามีหนี้นะหนี้เหลือเท่าไร

2. Review your budget to make room for future priorities การวางงบประมานล่วงหน้าทำได้จากการดูค่าใช้จ่ายที่ผ่านมารายได้ที่ผ่านมา เพื่อเราจะได้เตรียมตัวหาเงินไว้ล่วงหน้า 😊

On Fidelity.com you can easily create a budget to categorize expenses and help reach your savings goals: Help me budget  ระบบนี้มีตัวอย่างให้คำนวณค่ะ

3. Protect your wallet from the unexpected by maintaining at least minimum insurance coverage   ป้องกันตัวเองและครอบครัว ควรมีประกันไม๊และควรมีแบบไหนบ้าง ประกันก็จำเป็นต่อเราค่ะ

Insurance is like the umbrella you don’t think you’ll need. It may turn out to be the only thing that protects you from the storm. Having insurance for unlikely but potentially expensive events can help make sure your daily life can continue smoothly while continuing to move forward toward your goals. การมีประกันก็คือการป้องกันทรัพย์สินและวางแผนได้อย่างหนึ่งนะคะ สำหรับคนที่มีลุกมีครอบครัวมีภาระ ประกันมีหลายแบบ ประกันอุบัติเหตุประกันธุรกิจ ประกันบ้าน ประกันทรัพย์สินต่างๆ และก็ประกันชีวิต ด้วย

Estimate how much life insurance coverage you may need to replace your income and find out how much it may cost: Term life insurance quote  เอเจ้นคนไทยมีเยอะ ศึกษาจากหลายๆๆ คนหาคนที่คุณไว้ใจและเชื่อใจในการซื้อประกันค่ะ.

4. Save for future health care expenses with an HSA or FSA

ในจุดใดจุดหนึ่งพวกเราต้องมีเจ็บป่วยเป้นไข้ เชคสุขภาพประจำปีกันอยุ่แล้ว  ประกันสุขภาพเราควรจะมีถ้าไม่มีเราต้องทำอย่างไร ถ้าเราสุขภาพดี เข้าโรงพยาบาลน้อย แบบ high deductible ดีไม๊ เอาเงินเข้า HSAเยอะๆ ๆเลยไม๊ หรือ คนมีปัญหาสุขภาพเยอะก็ แบบ จ่ายพรีเมี่ยมแรงๆ และเวลาไปหาหมอจ่าย copay low ก็เข้า FSA ดีไม๊ . ทั้ง HSA & FSA นั้นมันประหยัดภาษีค่ะเราจ่ายเข้าไปแบบ free taxes ค่ะเราเอาไปจ่ายค่าใช้จ่ายด้านการแพทย์ ที่ qualify หมายถึงค่าหาหมอฟันค่าที่เราต้องจ่ายเพิ่มที่ประกันไม่จ่าย.

5. Set aside cash to cover emergencies like car repairs, medical bills, or job loss  เงินสำรอง ควรมีเท่าไร ถ้าเกิดมีเหตุฉุกเฉิน รถเราพังต้องซ่อม หมอต้องไปหาด่วน หรือตกงานล่ะ ทำยังไงกว่าจะได้งานใหม่ก็หลายเดือนอยุ่

Consider investing your cash in a money market fund or CD, which currently offer higher rates than most savings accounts: Help your cash work harder  เงินที่เราเก็บสำรองก็ฝากได้ดอกเบี้ยค่ะ

6. Try to get the full 401(k) match from your employer (if you have one)—it’s like free money คนที่ทำงานไม่ว่าประจำหรือพารทไทม์ ถ้านายจ้างมีเสนอ 401(k) ให้จัดเลยค่ะ เงินฟรี

Let’s say your employer matches 100% of your contributions, up to $3,000 a year. That means you need to contribute $3,000 to boost your 401(k) by $6,000.  ตัวอย่างนะคะ นายจ้างจ่ายสมทุบให้ เต็มพิกัด 3000 คุณก็ให้เขาหักไว้ 3000 เลย ได้เงินมาเพิ่มอีกเท่าตัว การออม แบบนี้มีสองแบบ แบบ traditional , vs roth แบบแรกนะก่อนหักภาษี แลลหลังหรือหลังหักภาษีมันดีเสยต่างกันอย่างไร มันดีหมดค่ะ คนรายได้ไม่เยอะหักแบบเสียภาษีไปเลย คนรายได้เยอะมากๆๆ อาจจะ deferred taxes by choosing traditional 401(k) ก้ได้ค่ะอยู่ที่การวางแผนทางการเงินของแต่ละคนเลย.

7. Keep more of your money for yourself by paying down high-interest credit card debt ใครหนี้เยอะ ดอกเบี้ยสูงๆๆ รีบตัดจ่ายเช่นพวกบัตราเครดิตค่ะ อย่าปล่อยไว้

Read Viewpoints on Fidelity.com: The debt snowball method vs. the debt avalanche method

The sooner you stamp out high-interest debt, the sooner you can reroute the income toward the future. For Fidelity’s take on navigating saving while paying off debt, read Viewpoints on Fidelity.com: How to balance debt, saving, and investing

8. Prepare for serious emergencies with a fully funded emergency fund กลุ่มนี้คือเงินที่ต้องมีจริงๆๆสำรองไว้เพื่อยามฉุกเฉิน

 Fidelity suggests setting aside 3 to 6 months’ worth of essential expenses for your emergency fund. For example, if you spend $5,000 a month on rent, food, and insurance premiums, you should aim to have $15,000 in a safe, no-risk account.  ตัวอย่างถ้ามีค่าบ้านค่าประกัน รวมแล้ว 5000 ต่อเดือน ก้มีสำรองไว้เลย สามเดือนอย่างต่ำ ไม่งั้น หนักเลยไปกุ้บัตรเครดตดอกเบี้ยสูงมาก

Exactly how much you need depends on your personal financial situation. One thing to consider: The fewer earners there are in your household, the more money you could consider saving. Read Viewpoints on Fidelity.com: How much to save for emergencies

9. Pay down debt with an interest rate above 6%

ถ้ามีหนี้ตัวไหนสูงกว่า 6% รีบจ่ายๆๆ ออก่อนค่ะอย่างรีรอ ถ้ามีเงินนะ ถ้าไม่มีก็ต้องหาต่อไป

Author’s comment

ไม่ว่าพื้นฐานการเงินคุณจะแบบไหน ถ้าไม่รอบรอบก็หมดตัวได้ ถ้ารอบคอบ คนไม่มีก็จะมั่งคั้งมากขึ้น คนมีก็จะยิ่งมีขึ้นๆ ไปดังตัวอย่างที่เราเห็นๆๆ  และอย่าลืมรักษาสุขภาพเราค่ะ สุขภาพเราต้องมาที่หนึ่ง มีเงินเยอะแยะ แต่สขภาพไม่ดี แล้วเราจะมีความสุขในการใช้ชีวิตได้เช่นไร.

Sources: ที่มา :  Fidelity 9 tips for your New Year’s money resolutions

วันที่ : วันอังคารที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖, Tuesday, December 26th 2023

เรียบเรียงโดย : แหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์
(US CPA ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต)

  • S Corp & LLC due date March 15th
  • Corporation due date April 18th
  • Individual due date _April 18
  • Individual living outside the U.S. due date is June 15

Apologize for any typo ขออภัยสำหรับการสะกดที่ไม่ถูกต้อง

*** Disclaimer: คำเตือนสำหรับผู้อ่าน ***

*Practitioners advising clients on the financial and tax consequences of entity alternatives is not viewed as a practice of law.  การให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าถึงเกี่ยวกับทางภาษีอากรและการเงินเกี่ยวกับโครงสร้างกิจการ ไม่ถือว่าเป็นการให้ทำปรึกษาด้านกฏหมาย*

**I am not an attorney; this article is only for information and comments about investment and taxes. **

ดิฉันไม่ใช่ทนายค่ะ บทความนี้ทำเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายภาษีอากรและเกี่ยวกับการลงทุนเท่านั้น.**

***Please seek advice from Attorneys in your area for any legal issues.

ถ้ามีปัญหาเรื่องกฏหมายในรัฐที่คุณอยู่ให้ติดต่อทนายความโดยตรงในรัฐนั้นคะ. ถ้าเรื่องถึงศาลทนายต้องมีใบอนุญาตในรัฐนั้น ๆ นะคะ. เรื่องทั่วไปเช่นอิมมิเกรชั่นใช้ทนายข้ามรัฐข้ามประเทศได้คะ***

(We provide accounting, and taxes related services. Investment consulting service in USA for Thai investors is also provided.

เรามีบริการด้านบัญชีและการภาษีอากร. พร้อมมีการให้บริการที่ปรึกษานักลงทุนไทยที่ต้องการลงทุนในอเมริกา. Please call (801-635-6926 or message us via Facebook page. สนใจสอบถามบริการติดต่อได้ที่เบอร์โทร (801-635-6926 หรือส่งข้อความผ่านเฟคบุคเพจได้ค่ะ.***