ความเชื่อหลัก หกข้อ ที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการเงิน

6 money myths debunked

ความเชื่อหลัก หกข้อ ที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการเงิน

นึกว่าตัวเองทำภาษีให้ลูกค้าเสร็จหมดแล้วทุกราย แต่ก็ยังมีค้างสองสามรายที่รอข้อมูลเพื่อจะได้ทำภาษีเป็นการต่อไป.  วันนี้เราจะคุยกันเรื่องการเงินและการออมค่ะ เพราะว่าสิ่งนี้สำคัญมากสำหรับอนาคต ถ้าคุณทำงานหนัก หาเงินมาได้เยอะแยะ แล้วไม่เข้าใจเรื่องการบริหารการเงิน ชีวิตในบั้นปลายจะเป็นเช่นไรถูกเปล่าค่ะ เพราะเงินที่ได้มาถ้าไม่ทำอะไรเลย ไม่ออม ไม่ลงทุน ค่าเงินมันตกลงค่ะ แล้วจะไม่พอเกษียณแบบอยู่สุขสบาย ไม่ต้องทำงานยามเมื่อท่านชราภาพค่ะ  แถมให้เลยว่าคนที่รู้จักการลงทุนการออมแต่อายุไม่มาก ไม่ต้องรอจนกระทั่งอายุ 60 ถึงเกษียณ หรือรอ 65 ปีเพื่อรับเมดิแคร์ฟรีจากรัฐบาลไปพร้อมกัน.  สิ่งต่างๆ ทั้งหลายเหล่านั้น เราท่านผู้เจริญแล้วควรจะนำมาคิดพิจารณาค่ะ

ปล. “เจริญแล้ว” ไม่ใช่ว่าคุณต้องเรียนจบมีปริญญานะคะ.

บทความนี้แปลมาให้จาก Fidelity investment ค่ะ แล้วจะเก็บภาอังกฤษไว้ให้ด้วย เผื่อจะได้แปลดีกว่าตีความดีกว่าสำหรับคู่สมรสที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแรกนะคะทุกท่านผู้อ่าน.

Key takeaways หลังอ่านบทความนี้คุณจะได้ความรุ้จัก ๆ ตามนี้ค่ะ.

  • Establish good saving habits. Be sure to save some money from every paycheck. เริ่มต้นการสร้างนิสัยการออม. เก็บเงินที่ได้จากการรับจ้างทุกครั้งว่ายังไงทำได้นะคะ.
  • Invest your savings appropriately for your goals and time frame. นำเงินที่เก็บได้จากการทำงานทุกครั้งลงทุนตามความเหมาะสมและสม่ำเสมอตามที่วางแผนไว้เมื่อเกษียณ.
  • Debt isn’t always bad but must be used responsibly. หนี้ไม่ใช่อะไรที่แย่เสมอไป แต่ต้องมีระเบียบและรับผิดชอบต่อตัวเองและต่อการชำระหนี้.

There is no shortage of bad information out there—and falling for some of it can cost you money. It could be other people who steer you in the wrong direction, or it could be the things you tell yourself. Whatever the source, believing these myths could be hazardous to your financial health. คนเขียนบทความบอกว่า ไม่ว่าจะฟังอะไรมาก็ตาม เรื่องการเงินเนี่ย ให้เอามาคิด คำนึงให้ดี ถ้าเชื่อไปแล้ว จะทำให้เสียโอกาส เดินทางผิด คิดจนม้วยมรณาหรือเปล่า ทำให้เสียโอกาสในหลาย ๆ ด้านหรือเปล่า ความเชื่อเหล่านั้น มีหลัก ๆ ที่หกข้อใหญ่ๆ ตามนี้ค่ะ.

Get the truth behind these bits of financial misinformation. แถมให้ด้วยนะคะ เวลารับฟังอะไรมาให้หาข้อมุลข้อเท็จจริงเพิ่มเติมด้วยค่ะ.

 

Myth #1: It’s not worth saving if I can only contribute a small amount. ข้อแรก คือความเชื่อเกี่ยวกับ เก็บเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่คุ้มหรอก ทำไมทำไม ว่างั้นนะคะ.

In reality: If you start early, around age 25, saving 15% of your paycheck—including your employer’s match to your 401(k) if you have one—could help you save enough to maintain your current way of life in retirement. It sounds like a lot, but don’t lose your motivation if you can’t save that much. Don’t be discouraged if you start later than age 25. Beginning to save right now and gradually increasing the amount you’re able to put away can help you hit your goals.

แปล.  ในความเป็นจริงแล้วนะคะ การเริ่มเก็บเงินแต่อายุน้อยๆ เริ่มที่ 25 ปี เก็บสัก 15% สำหรับเงินที่ได้รับ รวมถึงฝากเข้ากับ 401(k) ที่นายจ้างมีจ่ายสมทบ. มันก็สามารถทำให้คุณเกษียณได้แบบสบายๆ เลย. มันเหมือนจะมากไปหรือเปล่าสำหรับคนอายุที่ 25 ส่วนตัวมองแล้วว่ามากค่ะ เพราะอายุ 25 ก็เพิ่งเรียนจบกันทำงานกัน แต่บางคนถ้าทำงานไปเรียนไป อายุ 25 เป็นหัวหน้างานแล้วก็มี หรือ เพิ่งเรียนจบวิทยาลัย เริ่มทำงานบริษัท บางคนเริ่มมีครอบครัว ภาระตามมา. ด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม พยายามออมให้ได้มากที่สุด นี่คือความเห็นส่วนตัวนะคะ.

Save as much as you can while still being able to pay for essentials like rent, bills, and groceries. Fidelity’s budgeting guidelines may be able to help determine how much you can afford to save and spend.

ออมให้มากที่สุด ในขณะที่ต้องจ่ายค่าใชจายที่จำเป็นเช่นค่าน้ำ ไฟ โทรศัพท์ ค่ากินอยู่ต่างๆ . หลักการหลัก มีดังนี้คะ

  • Consider allocating no more than 50% of take-home pay to essential expenses (including housing, debt repayment, and health care). ต้องมีมากกว่าครึ่งของเงินที่ได้รับแต่ละงวดเอาไว้จ่ายค่าใช้จ่ายที่จำเป็น
  • Try to save 15% of pre-tax income (including employer contributions) for retirement. 15% ฝากเข้ารีไทเม้นก่อนภาษี รวมกับที่นายจ้างสมทบให้  สมมติว่านายจ้างให้6% คุณก็ฝากเข้าอีก 9% ไปเลยค่ะ.
  • Prepare for the unexpected by saving 5% of take-home pay in short-term savings for unplanned expenses. มีเงินสำรองไว้ล่วงหน้าเก็บเงินสดเข้าธนาคารไว้อีก 5% การเก็บเงินนี้ถ้าถือเงินสดไว้ ปลอดภัยหรือเปล่าถ้าสะดวกก็ถือเงินสดไว้ค่ะ

 

Myth #2: The stock market is too risky for my retirement money. ตลาดหุ้นตอนนี้ ความเสี่ยงสูงปริ๊ดเลย สำหรับการออมเพื่อเกษียณ

In reality: It’s true that money in a savings account is safe from the ups and downs of the stock market. But it won’t grow much either, given that interest rates on savings accounts are typically low. When it’s time to withdraw that money for retirement a few decades from now, your money won’t buy as much because of inflation. The stock market, however, has a long history of growth, making it an important component of your longer-term investment portfolio.

ในความจริงแล้ว มันก็ใช่ถ้ามีการถือเงินสดไว้ในออมทรัพย์แทนที่จะลงทุนในตลาดหุ้น เพราะถือเงินสดค่าเงินจะไม่ขึ้นลงเหมือนตลาดหุ้น แต่ ถือเงินสดไว้นะ ได้ดอกเบี้ยกี่เปอรเซ็น ยิ่ง ณ ปัจจุบัน ดอกเบี้ยต่ำมากถึงมากที่สุด แทบไม่ได้ไรเลย เงินฝาก แสนเหรียญ ยกตัวอย่างให้ค่ะ. ถ้าคุณถือเงินสดไว้ ณ ตอนนี้ อีก 20 ปีข้างหน้า หรือสมมุติว่าเคยถือเงินสดไว้ เมื่อช่วงตลาดตก ปี 2008 สิบสองปีต่อมาเงินคุณจะงอกเงยแค่ไหน ผิดกับตลาดหุ้น ที่คุณถือไว้ใน S&P 500index fund เพิ่มกี่เท่า ดูจาก down index ค่ะ เมื่อ 2016 dow index only 14000K, now dow index 25K สองเท่าแล้วค่ะ อันนี้เรายกตัวอย่างให้เห็นภาพจากการที่แปลนะคะ และก็ตัวอย่างจริงด้วยเพราะมันเกิดขึ้นจริง.

For instance, for a young person investing for retirement, a diversified investment strategy based on your time horizon, financial situation, and risk tolerance could provide the level of growth you need to achieve your goals.

ตัวอย่างสำหรับคนที่อายุยังไม่เยอะ และมีการลงทุนที่หลากหลายในตลาดทลักทรัพย์ ยังไงมันก็โตค่ะ ยิ่งตอนนี้ โอกาสได้ของถุกมีเยอะแยะ (แม้ว่าบางตัวก็ยังแพง)

There are a variety of ways to invest. Building a diversified portfolio based on your needs and the length of time you plan to be invested can be as complicated or as simple as you prefer. You can build your own diversified portfolio with mutual funds or exchange-traded funds—or even individual securities.

มีหลายๆ วิธีที่จะทำการลงทุน การสร้าง การลงทุนที่หลากหลาย มีระยุเวลาให้คำนวณด้วย เราชอบแบบไหนก็เอาแบบไหน high risk high return, low risk, low return., moderate returns. กองทุนต่างๆ มีให้เลือกได้ตามใจขอบคะ โดยเฉพาะใครที่ลงทุนไว้กับบริษัท จะมี mutual funds เยอะแยะให้เลือกได้เลย.

Even if you choose to manage your own investments, you may not be entirely on your own. 401(k) providers often offer example investment strategies that could give you ideas on how to build a diversified portfolio. You can invest in the funds in the model portfolio in the suggested proportions or you could use the models as a source of inspiration for your own investment ideas.

If you find investing daunting or don’t have the time to figure it out just yet, you might consider a managed account or a target-date fund for savings that are earmarked for retirement.

 

Myth #3: I’m young, so I don’t need to save for retirement now. ข้อสาม ว่าด้วยอายุ บางคนรู้ตัวว่ายังอายุน้อย ยังไม่จำเป็นต้องเริ่มออมหรอก ณ ตอนนี้ ฉันมีเวลาอีกเยอะแยะ.

In reality: Retirement can feel very far away when you’re young—but having all of those years to save can actually be incredibly powerful. That’s because time and compounding are important factors in a retirement savings plan.

โดยความเป็นจริงแล้ว เคยคิดแบบนี้เหมือนกัน แต่ฉุกใจได้ก่อน การเริ่มฝากแต่อายุยังน้อย เงินมันจะสมทบแบบทบต้นทบดอกไปเรื่อยๆ ค่ะ มันไม่เหมือนการเก็บเงินสด ที่นิ่งมากกับดอกเบี้ย ต่ำกว่า 2%

Compounding happens as you earn interest or dividends on your investments and reinvest those earnings. Because the value of your investments is then slightly higher, it can earn even more interest, which is then packed back into the investments allowing it to grow even more.

ไมจำเป็นต้องเรียน finance มาก็ได้คะ หลักการคำนวณทุกต้นทบดอก ตัวเลขง่ายๆ เราฝาก ที่ 100 ลงทุนได้ 7% เงินเราก็เป็น $107 แล้วยอดนี้ก็คุณต่อไปที่ 7% บวกเงินใหม่ที่เราฝากเข้าไปอีกร้อย มันก็เพิ่มค่าทวีคูณกันไปเรื่อยๆ ค่ะ เข้าไปหาคำนวรได้เลยในกูเกิ้ลเยอะมาก.

Over time, the value can snowball because more dollars are available to benefit from potential capital appreciation. But time is the secret ingredient—if you aren’t able to start saving early in your career you may have to save a lot more in order to make up for the value of lost time.

You can start by contributing to your 401(k) or other workplace savings plan. If your employer matches your contributions, make sure you contribute up to the match—otherwise you’re basically giving up free money. If you don’t have a workplace retirement account, consider opening an IRA to get started. ถ้านายจ้างมี 401(k) ที่เขาจ่ายสมทบให้ด้วยนี่รีบ ๆ พิจารณาใส่เงินไว้เลยคะเพื่อผลประโยชน์ของคุณเอง.  ถ้านายจ้างไม่มีแบสมทบ ให้พิจารณาฝากเองแบบ IRA ค่ะ เพราะ เลือกแผนการลงทุนได้หลากหลาย รวมถึงหุ้นของกิจการต่างๆ .

Read Viewpoints on Fidelity.com: Traditional or Roth account—2 tips to choose

 

Myth #4: There’s no way of knowing how much money I’ll need in retirement. ข้อสี่ ไม่มีทางรู้หรอก ว่าต้องการใช้เงินเท่าไรเมื่อเกษียณจากการทำงาน.

In reality: How much you’ll need depends entirely on your situation and what you plan to do when you leave the workplace.

ในความจริงแล้ว ต้องมีเงินเท่าไรเมื่อเกษียณนั้น มันขึ้นอยุ่กับสถานการณ์ของแต่ละคน เมื่อเกษียณจากการทำงานประจำ แล้วจะทำอะไรบ้าง.

But Fidelity did the math and came up with some general guidelines. Aim to save at least 15% of your pre-tax income every year—including employer contributions. To see if you’re on track, use our savings factor: Aim to have saved at least 1x (times) your income at 30, 3x at 40, 7x at 55, and 10x at 67.* Of course, everyone’s situation is unique and you may find that you need to save more or less than this suggestion.

จากการศึกษาของ เฟรดเดอริตี้ ระบุว่า ถ้าคุณฝากเงินอย่างน้อย 15% ทุกปี รวมถึงนายจ้างสมทบนะ ถ้าไม่รวมจะฝากมากกว่านี้ยิ่งหรูเช่นกัน. ทำได้แบบนี้เกษียณแบบไม่มีปัญหาค่ะ. อันนี้พูดกันเราคนชาวบ้าน เนาะ เก็บได้แบบนี้ก็สบายยามชราแล้ว เพราะการเก็บทุกปีเงินมันก็ทบต้นทบดอกไปเรื่อย ๆ และลงทุนก็เพิ่มกันมากขึ้นไปเรื่อยๆ นะแหละค่ะ. 

Read about all of Fidelity’s retirement saving guidelines on Fidelity.com: Retirement roadmap

Don’t worry if you’re not always on track. Saving consistently, increasing your contributions when you’re able, and investing for growth in a diversified mix of investments could help you catch up over time.

ถ้าใครทำได้บ้างไม่ได้บ้าง รู้ตัวว่าหลุดก็กลับมาออกมได้ค่ะ  มีเงินไม่เท่าไรเลือกลงทุนถุกที่ถุกเวลา เหมือนซื้อหุ้น อเมซอนเก็บไว้ ยี่สิบปีที่แล้วก็รวยได้แบบไม่ต้องทำอะไรเช่นกันแหละค่ะ.  เรื่องแบบนี้ก็อยุ่ที่ดวงและสถานการณ์ของแต่ละคนด้วย

 

Myth #5: All debt is bad. ข้อห้า หนี้ทุกแบบไม่ดีหมดเลย

In reality: It’s true that carrying a balance on your credit card or a high-interest loan can cost a lot—significantly more than the amount you initially borrowed. But not all debt will hold you back. In fact, certain types of debt, like mortgages and student loans, could help you move forward in life and achieve your personal goals.

ในความจริงคือใช่คะ ถ้าคุณมีหนี้บัตรเครดิตดอกเบี้ยสูง ๆ ตายอ่วมเลยแบบนี้.  แต่ถ้ามีหนี้บ้านที่อยู่อาศัย หนี้เงินกู้จากการศึกษา หนี้เหล่านี้คือหนี้ดีค่ะ.  หนี้บ้าน ซื้อไว้บ้านเพิ่มค่าตลอด น้อยมากที่บ้านจะลดค่า แต่สุดท้ายก็กลับมาเช่นเดิม  หนี้เพื่อการศึกษา ก็หนี้สำหรับการลงทุน ทรัพย์สินค่ะ ถ้ากุ้ไปเรียนสาขาที่ขาดแคลน ทำเงินได้ดี ไม่ใช่หนี้สินเกิดจากเรียนวาดภาพ มหวิทยาลัยดังๆ แต่ขายภาพไม่ได้ หนี้กู้เรียน computer science ไม่กี่ปีก็ใช้หนี้หมดแล้วค่ะ ทำเงินได้ดีงดงามด้วย.

Plus, the interest rates on mortgages and student loans are typically much lower than those on personal loans or credit cards, and the interest may be tax-deductible.

ที่ว่าหนี้บ้านดีนะ ดอกเบี้ยอาจจะเอามาใช้เป็นค่าใช้จ่ายได้อยุสำหรับคนบ้านแพง เพราะกลุ่มมีบ้านราคาแพงเช่น แคลิฟอเนีย นิวยอรค เขายังได้ใช้ itemized deduction กันได้อยู่แม้ว่ากฏหมายใหม่ ค่าใช้จ่ายมาตราฐานจะสูงพอแล้วก็ตาม.  ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจากการศึกษาก็เอามาหักจากรายได้ได้อีก (กรณี รายได้ไม่สูงถึงสองแสนเหรียญนะคะ) รายได้มากใช้อะไรไม่ได้กับดอกเบี้ยแล้วค่ะ.

No matter what kind of debt you take on, make sure you shop around for the best rates and never borrow more than you can afford to pay back on time.ค่ะ

ข้อนี้ดีค่ะ ก่อนจะตัดสินใจกุ้ซื้อบ้าน กู้เรียนหนังสือ หาแหล่งดอกเบี้ยที่ถูกที่สุดเท่าที่จะหาได้ค่ะ แต่ปัจจุบันไม่น่าแตกต่างกันมากมาย ดอกเบี้ยบ้านถูกมากมายคะช่วงนี้.

 

Myth #6: Credit cards should be avoided. ข้อหก ควรเลี่ยงการมีบัตรเครดิต.

In reality: As long as you pay off your card balance in full each month to avoid interest, making purchases with credit can be worthwhile. Many credit cards offer a rewards program. If you make all your everyday purchases with your card, you could quickly rack up points you can redeem for cash, travel, electronics, or to invest.

โดยทั่วไป ถ้าคุณมีบัตรเครดิต แล้วคุณจ่ายหมดทุกเดือน ไม่น่ามีปัญหาอะไรค่ะ แถมเก็บแต้ม point collection บินฟรี เที่ยวฟรีได้เยอะแยะเลย ถ้ารู้จักบริหาร. ช่วงนี้คงไม่บินไปไหนละคะ กลัวตายเหมือนกัน July 31st , 2020. COVID in USA is No. 1 in the world แบบนี้ เดี๊ยนไม่บินละคะ เดี๊ยนเที่ยวป่า ทะเลสาบก็ยังห่างผุ้คนค่ะ เพราะฝรั่งไม่กลัวกันจริงๆ คือส่วนหนึ่งชีวิตเขาว่างั้น เรื่องตายคือธรรมชาติ.

Also, demonstrating that you use credit responsibly can help you increase your credit score, making it easier to buy a car or a home later on. It may even earn you a lower interest rate when you borrow in the future. It can be difficult to dig out of credit card debt, but if you control your spending and pay the card off every month, it could pay you back.

 ข้อดีของการมีบัตรเครดิต แล้วจ่ายหมดทุกเดือน หรือใช้แบบไม่เกิน 30% ของวงเงินบัตรเครดิต เป็นการสร้างเครดิตที่ดีมากมายคะ จะซื้อบ้าน ซื้อรถ ทำงานบริษัทใหญ่ ๆที่เขาตรวจเครดิตสกอร์ ตำแหน่งดีๆ มีผลทั้งนั้นเลยคะ. แถมใครจะทำกิจการเช่นร้านอาหาร ร้านนวด จะไปเช่าตึก เครดิตสกอร์ไม่ดี เจ้าของตึกไม่อนุมัติหรอกค่ะ.  เว้นแต่เจ้าของตึกรู้จักคุณ หรือต้องจ่ายมัดจำสูงๆ หน่อยอะไรประมาณนี้นะคะ.

*

Comments from author:

*

เจอประเด็นนี้เมื่อเช้าค่ะ ว่าจะอ่านคนเดียว ไม่เอาดีกว่า อ่านไปแปลไปให้คนอื่นรู้ด้วยดีกว่า.  คนภาษาดีๆ เขารุ้จักหาอ่านเองได้  คนภาษาดีแต่อยากได้ไอเดียจากเราก็มีเยอะ.  แถมคนที่ภาษาไม่ดี จะได้ฝึกแปลกันกับเขาด้วย.  เวลาดิฉันแปลอะไรให้จะพยายามยกตัววอย่างให้เห็นภาพค่ะ เพราะถ้าแปลตรงตัวแล้วมันเข้าใจแบบ “งง” กันมากมาย.

มาอยุ่อเมริกาก็จะ 14 years แล้วค่ะ สิ้นปีก็จะครบสิบสี่ปี เริ่มการออมจริงๆ จังๆ ก็ 8 ปีที่ผ่านมาคะ มาแรก ๆ ยังมีหนี้สินที่ไทยซื้อบ้านซื้ออะไรไว้ต้องจ่ายให้หมด เพราะว่าดอกเบี้ยแพงกว่าที่ผ่อนบ้านที่นี่ และตอนนั้นไม่มีความรู้ด้านภาษีอากรมากนักเรื่องการใช้ดอกเบี้ยบ้านหลังที่สองมาหักออกจากภาษีได้ ความไม่รู้ก็พลาดโอกาสค่ะ.  แต่ตัดสินใจถูกแล้วที่จ่ายหนี้หมดก่อนออม. 

ส่วนการใช้บัตรเครดิตมีมาแต่อยู่ไทยแล้วค่ะ เพราะเป็นคนชอบสมัครได้ของฟรี ได้แต้มแลกของและก็ใช้แต้มเที่ยวฟรี ที่สำคัย ถ้ามีปัญหาเรื่องการซื้อของเราสามารถยกเลิกได้ดีกว่าการใช้เงินสด ซื้อของเสียเวลามาก เงินก็จ่ายไปแล้ว เอาคืนยากมาก.

เรื่องการออม ก็ออมแบบไม่รู้เรื่องมาได้ปีแรกก็ทำงานมี 401(k) ก็ออมแบบไม่รู้เรื่องค่ะ เงินก็ อยู่ใน money market ไม่ได้ลงทุนอะไรเลย เกือบสามปี นอนอยุ่นั่นนะแหละ ทำไงได้ไม่มีความรู้เนาะ พอรตที่กิจการมีไว้เขาก็ไม่ได้บอกให้เราเลือกลงทุนนิ ไม่มีใครมาให้ความรู้แบบนี้ก่อนหน้านี้.  ตอนนี้รุ้ตัวละคะ เลือกลงทุนแบบระยะยาว ไม่เก็บเงินสดไว้เฉยๆ ตลาดหุ้นตกมากกลางเดือนมีนาคม ก็ถือโอกาสได้ซื้อหุ้นเพิ่มตามกำลัง ตอนนี้พอรตก็กลับมาบวกที่ 30% เช่นเดิมก่อนตก เย้  ไม่กลัวไม่สั่นค่ะ เห็นน้องๆ ถอนเงินออกมาขายหุ้น เงินนั้นก็ไม่ได้ทำอะไรค่ะ เสียโอกาสอีกหุ้นนั้นก็กลับมาราคาเกือบเท่าเดิมก่อนตก. บางคนมีหุ้น apple ตอนนี้ จะมี split หุ้น เพิ่มกันอีกรวยกันไปอีก.  เห็นไม๊ค่ะ การลงทุนต้องนิ่ง.  แต่สถานการณ์คนเราไม่เหมือนกันคะ เราวิพากษ์วิจารณ์มากไม่ได้ เรามันกลุ่มชอบเสี่ยง เพราะเชื่อว่าความเสี่ยงคือส่วนหนึ่งของชีวิตค้า.

♥Best of luck to your successful retirement♥

*

Source (ที่มา)                     :   Fidelity.com, 6 money myths debunked

*

เรียบเรียงโดย            : แหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์ (US CPA ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต)

วันที่                     :  วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓, Friday, July 31st, 2020.

*

****apologize for any typo ขออภัยสำหรับการสะกดที่ไม่ถูกต้อง****

*

**** S Corp & LLC due date March 15th****

*** Corporation due date April 15th ***

** Individual due date October 15th ***

** Payroll taxes *** extended to December 31 (for deposit)

*

Disclaimer: คำเตือนสำหรับผู้อ่าน

*

*Practitioners advising clients on the financial and tax consequences of entity alternatives is not viewed as a practice of law.  การให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าถึงเกี่ยวกับทางภาษีอากรและการเงินเกี่ยวกับโครงสร้างกิจการ ไม่ถือว่าเป็นการให้ทำปรึกษาด้านกฏหมาย*

*

**I am not an attorney, this article is only for information and comments about investment and taxes.**

ดิฉันไม่ใช่ทนายค่ะ บทความนี้ทำเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายภาษีอากรและเกี่ยวกับการลงทุนเท่านั้น.**

*

***Please seek advice from Attorneys in your area for any legal issues.

ถ้ามีปัญหาเรื่องกฏหมายในรัฐที่คุณอยู่ให้ติดต่อทนายความโดยตรงในรัฐนั้นคะ. ถ้าเรื่องถึงศาลทนายต้องมีใบอนุญาตในรัฐนั้น ๆ นะคะ. เรื่องทั่วไปเช่นอิมมิเกรชั่นใช้ทนายข้ามรัฐข้ามประเทศได้คะ***