การซื้อขายธุรกิจเกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ ดั่งคำที่ว่าคนในอยากออกคนนอกเยากเข้า คนในทำธุรกิจมานาน มีปัญหาสุขภาพ ขาดคนทำงาน อยากไปทำอย่างอื่น คนอยากเข้ามาส่วนใหญ่คือมือใหม่ อยากเป็นเจ้าของกิจการ เป็นลูกจ้างมาก่อน อยากรวยเหมือนกันฮะ ใครก็อยากรวย อยากลองเลยมาซื้อธุรกิจกัน
Form new business to buy assets ตั้งบริษัทใหม่ มาซื้อธุรกิจ
วิธีนี้ จะเลี่ยงปัญหาด้านหนี้ค้างเก่ามากกว่าที่จะไปซื้อหุ้นต่อเจ้าของเดิม ไม่ต้องปวดหัวด้านหนี้สินที่ค้างจาก จากหน่วยงานราชการต่างๆ โดยเฉพาะ กรมสรรพากร แต่ไม่ใช่เจ้าของตึก เพราะถ้าเป็นกิจการใหญ่ๆๆ ไม่จ่ายค่าเช่า 3 เดือนก็ถูกให้ออก ก็มีเยอะ ดึงจ่ายค่าเช่าให้ตรง
การจัดการจะยาวกว่าการไปซื้อหุ้นต่อ ต้องทำเรื่องขอลายเซ๋นต่างๆ ใหม่แม้ว่าจะใช้ชื่อร้านเดิมโดยเฉพาะร้านอาหาร คงป้ายเดิม แต่ถ้าคุณเปลี่ยนธุรกิจคุณก็ต้องแจ้ง city, county and state ใหม่ ทำลายเซ่นต่างๆ ใหม่ให้หมด ปล. ปัญหานี้จะเหมือนกันกับซื้อหุ้นต่อ การเปลียนแปลงผู้ถือหุ้นต้องแจ้ง ทุกหน่วยงานเช่นกัน
การซื้อกิจการ โดยเฉพาะ ใช้บริษัทใหม่ไม่ซื้อหุ้นเดิม คุณสามารถตีราคาทรัพย์สินเป็นราคาตลาด จุดนี้สามารถหักเป็นค่าใช้จ่ายได้เยอะมาก ไม่เหมือนกับการที่คุณไปซื้อหุ้นต่อ คุณซื้อมากน้อยเท่าไร หุ้นก็เท่าเดิม เหมือนคุณไปซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คุณซื้อ100 หุ้นราคาเท่าไร ก็เป็นราคาตามเจ้าของเดิม เช่น ทุนใน balance sheet $50000 คุณไปซื้อที่ $100000 แสงว่าราทุนที่คุณวื้อคือ แสน แต่ในระบบ balance sheet ก็ยังคงไว้ตามเจ้าของเดิมที่ $50000 ไม่สามารถที่จะไปเพิ่มในบริษัทได้ เพราะหลักการบัญชีคู่การจะเพิ่มทุนคือต้องมีเงินหรือทรัพย์สินอื่นๆ เข้ามาแทน (นักบัญชีจะทราบ) **นี่คือข้อเสียเปรียบที่ไปซื้อหุ้นต่อ
Purchase current equity from owner ไปซื้อทุนต่อ
แบบนี้คือเข้าไปทำต่อได้เลย และทยอย แจ้งหนวยงานราชการต่างๆ ว่าเป็นเจ้าอขงใหม่ ต้องแจ้งนะคะ ตามหลักการ แม้ว่าจะเป็นบริษัทเดิม อีกอย่างกิจการที่จดทะเบียนกับเสตทก็ต้อง amend article of llc or c corporation ยกเว้นเจ้าของส่วนตัวไม่ได้จดทะเบียน ไม่ต้องแก้ที่เสตท แต่ต้องแจ้ง city county for business licenses, alcohol licenses, health permit ต่างๆ ต้องทำใหม่นะคะ ลักษณะเดียวกับการจดทะเบียนบริษัทมาซื้อใหม่ค่ะ
ข้อเสียคือ คุณจะไม่ทราบว่าภายใน 5-7 ปีจะมีการสุ่มตรวจสอบ ไม๊ มีใครแกล้งว่าร้านนี้จ้างคนเถื่อนทำผิดกฏหมายไหม ถ้าซวยแบบน้จะถูกเรียกดูเอกสารย้อนหลังเยอะ ดังนั้นคุณต้องขอ record keeping from previous owners เก็บไว้ให้หมดค่ะ แต่ถ้าคุณทำงานกับนักบัญชีคนเดียวกันตอนเปิดร้านแล้วนักบัญชีกลุ่มนั้นมีข้อมูลหมด คุณก็น่าจะสบายใจไปจุดหนึ่ง ทั้งนี้ทั้งนั้นควรจะ ดูประวัติบริษัทรับทำบัญชีกลุ่มนั้นด้วยว่า มีความรับผิดชอบ และทำงานแบบไหนบ้าง (ดีที่สุด ขอเอกสารให้หมดและรบุว่าในการสัญญาว่าถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นเจ้าของเก่าต้องรับผิดชอบ )
ข้อเสียอีกอย่างหนึ่งคือ คุณไม่สามารถตัดเป็นค่าใช้จ่ายใดๆๆ ได้เลยสำหรับเงินที่คุณไปซื้อหุ้นกิจการต่อ เพราะ มันไม่ใช่เป็นการเพิ่มทรัพย์สิน ใดๆ แค่เปลี่ยนทุนจากคุณคนใหม่จากคนเก่าเท่านั้นเอง และส่วนใหญ่อุปกรณ์เ หรือการสร้างร้านต่างๆ นั้น ถูกตัดค่าเสื่อมมาแล้วแต่ต้นปี
Author’s comment
ก่อนทำธุรกิจ ให้คำนึงถึงหลายๆ อย่าง โดยเฉพาะกลุ่มที่ใช้เงินออม เงินกู้มาซื้อ มาลงทุนเพื่อจะได้มีอนาคตที่ดี ลูกๆๆ ได้มาเรียนต่ออเมริกาฟรีๆ ทำธุรกิจไปด้วยพร้อมกัน ป้องกันตัวคุณเองให้มากที่สุด ถ้าได้ป้องกันแล้วยังพลาดอยู่ก็ถือว่า ความซวยไม่ได้เข้าใครออกใครละกันเนอะ
Sources: ที่มา : Experiences และด้วยความปรารถนาดี และสนับสนุนการเป็นเจ้าของ
วันที่ : วันศุกร์ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๗ Friday, June 21st 2024
เรียบเรียงโดย : แหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์
(US CPA ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต)
- S Corp & LLC due date March 15th
- Corporation due date April 18th
- Individual due date _April 18
- Individual living outside the U.S. due date is June 15
Apologize for any typo ขออภัยสำหรับการสะกดที่ไม่ถูกต้อง
*** Disclaimer: คำเตือนสำหรับผู้อ่าน ***
*Practitioners advising clients on the financial and tax consequences of entity alternatives is not viewed as a practice of law. การให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าถึงเกี่ยวกับทางภาษีอากรและการเงินเกี่ยวกับโครงสร้างกิจการ ไม่ถือว่าเป็นการให้ทำปรึกษาด้านกฏหมาย*
**I am not an attorney; this article is only for information and comments about investment and taxes. **
ดิฉันไม่ใช่ทนายค่ะ บทความนี้ทำเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายภาษีอากรและเกี่ยวกับการลงทุนเท่านั้น.**
***Please seek advice from Attorneys in your area for any legal issues.
ถ้ามีปัญหาเรื่องกฏหมายในรัฐที่คุณอยู่ให้ติดต่อทนายความโดยตรงในรัฐนั้นคะ. ถ้าเรื่องถึงศาลทนายต้องมีใบอนุญาตในรัฐนั้น ๆ นะคะ. เรื่องทั่วไปเช่นอิมมิเกรชั่นใช้ทนายข้ามรัฐข้ามประเทศได้คะ***
(We provide accounting, and taxes related services. Investment consulting service in USA for Thai investors is also provided.
เรามีบริการด้านบัญชีและการภาษีอากร. พร้อมมีการให้บริการที่ปรึกษานักลงทุนไทยที่ต้องการลงทุนในอเมริกา. Please call (801-635-6926 or message us via Facebook pa