สวัสดีวันที่ ๙ เดือนแรกของปี 2024 (2567) วันนี้วันดีขอให้สิ่งดีๆๆเกิดขึ้นกับทุกคนค่ะ. เนื่องจากวันดีเราก็มาคุยกันเรื่องดีๆๆ นะคะ เรื่องอะไรมันจะดีเท่ากับการให้ใช่ไม๊ ดิฉันมองว่าเรื่องการให้เป็นสิ่งที่ดีค่ะ ให้ใครก็ตามถือว่าได้ให้ แล้วรู้สึกดีมีค่าทางใจก็ทำเลยค่ะ เช่นการให้ของขวัยกับคนอื่นๆ ที่เป็นคนในครอบครัวและคนที่ไม่ใช่นะคะ. เรื่องกฏหมาของขวัญของไทยและอเมริกานี่ดิฉันมองว่าแตกต่างกันไม่ใกล้เคียงกันเลย กฏหมายภาษีอากรหลายๆๆ ตัวแทบจะเทียบ ตารางแบบตารางนี่ยิ่งยากยวดขึ้นไปอีก.
ในอเมริกานั้น การให้ ไม่ได้จำกัดว่าให้ใครค่ะ การให้บางอย่างให้ไม่ต้องรายงานไม่ต้องเสียภาษีค่ะ
What can be excluded from gifts? อะไรบ้างที่ไม่รวมนะคะ
The general rule is that a gift as described above in What is considered a gift for U.S. gift tax purposes? is a taxable gift. However, there are exceptions to this rule. Generally, the following gifts are not taxable gifts. โดยทั่วไปการให้ของขวัญในอเมริกาทั่วไปใครก็ตามเกิน $17000/year (2023 law) ก็ต้องรายงานในแบบภาษีค่ะ สำหรับฝั่งอเมริกาคนให้รายงานนะคะ. เอ๊ะแล้วให้แบบสมบัติล่ะ ก็นั้นให้ตอนหายไปจากโลกนี้ค่ะ ได้ 12.92 ML เลยค่ะ ไม่ต้องเสียภาษีใดๆๆ แต่ก่อนจะไปแจกได้ก็ต้องผ่าน probate อยุ่ยกเว้นอยู่ในทรัสย์นะคะ ถ้าในทรัสย์ไม่มีภาษีค่ะ. Probate fee ขึ้นอยุ่กับรัฐเลยนะคะ เสริทหาได้เลยเช่น ถ้าสมบัติต่ำกว่า$75,000, probate fee exemption ไม่มีค่ะ.รัฐอื่นต้องเปิดค่ะ.
- Gifts that are not more than the annual exclusion for the calendar year. ถ้าให้ไม่เกิน $17,000/year ไม่ต้องรายงานไม่ต้องทำอะไรค่ะฟรี
- Tuition or medical expenses you pay for someone (the educational and medical exclusions). การจ่ายค่าเทอมค่าหมอค่ารักษาพยาบาลก็ไม่มีภาษีนะคะ ตามความเข้าใจต้องจ่ายตรงไปที่มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานต่างๆๆค่ะ.
- Gifts to your spouse who is a U.S. citizen. If your spouse is not a U.S. citizen, the marital deduction for gifts is limited to an annual exclusion of $164,000 for 2022, $175,000 for 2023, and $185,000 for 2024. See IRC § 2523(i). สำหรับคนเมริกันให้เงินคู่สมรสที่เป็นอเมริกันแบบไม่มีจำกัดค่ะ. สำหรับคู่สมรสที่ไม่มีสัญชาติอเมริกันนั้นได้รับยกเว้นค่ะ ถ้าไม่เกิน $185,000 (year 2024)” อันนี้ก็กลุ่มมีภรรยาไทยที่มีใบเขียวและที่ไม่เคยเข้ามาอเริกาละคะ ยอดนี่เป็นคนไทยน่าจะ 6.4 Million baht ($1: 35)” งานนี้ ใครโอนเงินให้คู่สมรสไทยก็ได้รับยกเว้น แบบสบายๆๆ นะคะ.
- Gifts to a political organization for its use. มองเงินให้กับพรรคการเมืองนี่ไม่ต้องทำไรเลยเช่นกัน
Gifts to qualifying charities that are trusts; community chests, funds, or foundations; or fraternal societies, orders, or associations operating under the lodge system must be for use within the United States. See IRC§ 2522(b)(3) and (4). กิ๊กให้หน่วยงานต่างๆ ที่จดทะเบียนกับ irs such as church, temple, not for profit organizations ต่างๆ นะคะ
Thai gift taxes law กฏหมายของขวัญของไทย
แบบว่าเพิ่งออกมาดังสุดๆๆ ทั้ง YouTube ดังๆต่างๆ เราก็รุ้มาจากเขานะแหละ แล้วค่อยไปอ่านกฏหมายต่อ ทางลัดค่ะ
Real Estate and Non real estate การให้แบบอสังหา และ ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์
Real Estate อสังหาริมทรัพย์ทุกประเภท เช่น บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน ตามกฏหมายไทย อสังหาริมทรัพย์นั้นไม่ถือเป็นการให้ได้ค่ะ ต้องถือเป็นการขายเท่านั้น ก็ว่ากนตามด้วยกฏหมายที่ดินเลย แต่ยอดที่เกิน 20 ล้านบาทนะ คนที่โอน บิดามารดาคือคนที่จ่ายภาษีค่ะ. เสีย 5% ของยอดที่เกิน 20 ล้านบาท.
Non real estate สังหาริมทรัพย์เช่น เงินสด รถยนต์ ทองคำ เครื่องประดับ
บุคคลธรรมดาผู ้ได้รับเงินได้จากการอุปการะหรือจากการให้โดยเสน่หาจาก บุพการี ผู้สืบสันดาน หรือคู่สมรส เฉพาะเงินได้ในส่วนที่เกินกว่า 20 ล้านบาท ในแต่ละปีภาษี ถ้าเกิน 20 ล้านบาทถึงเสีย 5% ค่ะ. ก็อย่าให้คู่สมรสเกิน 20 ล้านต่อปีสิค่ะ ใครรวยมากๆๆ ก็ทยอยให้ละกันค่ะ 20 ล้านบาทนี่เงิน $571,000 ($1:35 baht) ที่อเมริกาถ้าคู่สมรสเป็นอเมริกัน คนไทยสองสัญชาติเยอค่ะ ให้เท่าไรก็ไม่เสียภาษี แต่ภรรยาที่ไทย ก็ได้ที่ 6,000,000 baht เงินขนาดนี้ก็ไม่รุ้จะใช้ยังไงแล้วค่ะ. ทยอยให้เด้อค้าจะได้ไม่ต้องกรอกฟอร์มสองประเทศค่ะ.
How much you can transfer without paying taxes โอนเงินกลับไทยเท่าไรที่ไม่ต้องเสียภาษี
Spouse หรือคุ่สมรส ก็ทำตามกฏหมายสองประเทศค่ะ อย่าเกิน 6 ล้านบาท ถ้าภรรยาไม่เคยเข้ามาหรือไม่ใช่อเมริกัน ถ้าภรรยาเป็นอเมริกันก็โอนได้ถึง 20 ล้านบาท ปลอดภัยทั้งกฏหมายไทยและอเมริกา
Family โอนให้พ่อแม่ ถ้าพ่อแม่คนไทย ก็อย่าให้เกิน $17.000year ค่ะ ต่อคน พ่อแม่สองคนก็คูณสองได้เลยค่ะ แค่นี้ท่านน่าจะพอ แม้ว่ากฏหมายไทยจะอนุญาติให้โอนได้ถึง 20 ล้านบาทแต่ให้ดูกฏหมายฝั่งอเมริกาด้วย
My own account โอนเข้าบัญชีตัวเอง อันนี้ คือ มีกฏมายหลายตัวต้องทำตาม เช่น ถ้าโอนเข้าไปเกิน $10,000/year จุดใดสูงสุด ก็มีหน้าที่รายงาน FBAR ถ้าโสด โอนมากกว่า $75,000/year ก็มีหน้าที่รายงานอีกฟอร์มค่ะในแบบ form 1040, form 8938 ถ้ามีเยอะกว่านี้ก็อีกหลากหลายฟอร์ม. พึงดูกฏหมายไทยด้วยค่ะ เพราะมีกฏหมายเพิ่งออกมาคนมีรายได้ต่างประเทศ โอนเงินเข้าปี 2567 (2024) กฏหมายไทยเรียกเก็บภาษีแล้วด้วยนะ ดังนั้นอย่าโอนเข้าตัวเอง โอให้พ่อแม่ค่ะ ข้อหารือกฏหมายไม่ค่อยได้เคลียร์ด้วยว่า ถ้าต้องเสียภาษีแล้ว กฏหมายที่อเมริกาเราจ่ายไปแล้ว เราไปยื่นแบบที่ไทย เราเอามาหักได้ไม๊ ตามกฏหมายภาษีอเมริการะหว่างไทย มีอนุสัญญาภาษีซ็อนระหว่างกันนั้น ภาษีที่จ่ายออกไปเอามาหักได้นะคะ หักออกจากภาษีเงินได้ ถ้าเราต้องยื่นแบบที่ไทยแล้วมีภาษีทีตอ้งเสียไว้แล้ว ที่ไทยไม่น่าจะมีเลย เพราะภาษีที่อเมริกาสูงกว่ามาก อันนี้จากข้อสังเกตุที่ทำให้ภาษีลุกค้าสองประเทศนะคะ.
Sources: ที่มา : IRS Gift taxes (USA) ไทยนี่เสริทหาได้เลยค่ะดังสุดๆๆ
วันที่ : วันอังคารที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗, Monday, January 9th 2024
เรียบเรียงโดย : แหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์
(US CPA ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต)
- S Corp & LLC due date March 15th
- Corporation due date April 18th
- Individual due date _April 18
- Individual living outside the U.S. due date is June 15
Apologize for any typo ขออภัยสำหรับการสะกดที่ไม่ถูกต้อง
*** Disclaimer: คำเตือนสำหรับผู้อ่าน ***
*Practitioners advising clients on the financial and tax consequences of entity alternatives is not viewed as a practice of law. การให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าถึงเกี่ยวกับทางภาษีอากรและการเงินเกี่ยวกับโครงสร้างกิจการ ไม่ถือว่าเป็นการให้ทำปรึกษาด้านกฏหมาย*
**I am not an attorney; this article is only for information and comments about investment and taxes. **
ดิฉันไม่ใช่ทนายค่ะ บทความนี้ทำเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายภาษีอากรและเกี่ยวกับการลงทุนเท่านั้น.**
***Please seek advice from Attorneys in your area for any legal issues.
ถ้ามีปัญหาเรื่องกฏหมายในรัฐที่คุณอยู่ให้ติดต่อทนายความโดยตรงในรัฐนั้นคะ. ถ้าเรื่องถึงศาลทนายต้องมีใบอนุญาตในรัฐนั้น ๆ นะคะ. เรื่องทั่วไปเช่นอิมมิเกรชั่นใช้ทนายข้ามรัฐข้ามประเทศได้คะ***
(We provide accounting, and taxes related services. Investment consulting service in USA for Thai investors is also provided.
เรามีบริการด้านบัญชีและการภาษีอากร. พร้อมมีการให้บริการที่ปรึกษานักลงทุนไทยที่ต้องการลงทุนในอเมริกา. Please call (801-635-6926 or message us via Facebook page. สนใจสอบถามบริการติดต่อได้ที่เบอร์โทร (801-635-6926 หรือส่งข้อความผ่านเฟคบุคเพจได้ค่ะ.***