2018-2025 Taxes change – INCOME FROM PASS-THROUGH ENTITIES

2018-2025 Taxes change – INCOME FROM PASS-THROUGH ENTITIES

กฏหมายภาษีอากรใหม่ เกี่ยวกับรายได้จากกิจการ กลุ่ม LLC, S-Corp., Partnership

 

 

New Deduction for Pass-Through Income ค่าลดหย่อนใหม่ สำหรับกลุ่มที่รับ Schedule K1 (กลุ่มเจ้าของกิจการ พวก LLC, S-Corp, Partnership).

 

What is Pass-through entity?  มันคืออะไร

 

มีถามกันมามากมาย ว่ากลุ่มนี้คือใคร  คนที่เป็นเจ้าของกิจการที่รับ Schedule K-1, เช่นมีกิจการจดทะเบียนแบบ S-Corp, LLC, Partnership (มีหุ้นส่วนสองคนขึ้นไป)  กลุ่มนี้กำไรขาดทุนจะผ่านมายังเจ้าของ เพราะในตัวกิจการเองจะไม่เสียภาษี แค่ยื่นแบบแสดงรายการของกิจการทุกปี วันที่ 15 มีนาคม และขยายเวลาได้ไปอีกหกเดือน. เจ้าของกิจการกลุ่มนี้ต้องทำการยื่นภาษีบุคคลธรรมดาหลังจากได้รับรายงาน Schedule K1 จากกิจการของตัวเอง.

 

กฏหมายใหม่เริ่มใช้ after Dec. 31, 2017 and before Jan. 1, 2026, ได้เพิ่มกฏCode Sec. 199A, “Qualified Business Income,” คุณสมบัติของรายได้จากการประกอบกิจการ ซึ่งไม่ใช่ คอรปอเรชั้น และ ทรัส หรือ เอสเตท.  ใครที่มี qualified business income (QBI) จาก ห้างหุ้นส่วนจำกัด จาก เอสคอรป และจากกิจการเจ้าของคนเดียว สามารถหักค่าใช้จ่ายตามนี้:

 

  • (1) จำนวนที่น้อยกว่า ผลรวมของ รายได้จากธุรกิจทั้งหมด หรือ  (b) 20%  ของส่วนที่เกิน จากรายได้ของผู้เสียภาษี จากผลรวมของ capital gain and dividend รวมด้วยข้อ 2

  • (2)  จำนวนน้อยกว่า  (i) 20% ของเงินปันผล หรือ (ii) รายได้ที่ต้องเสียภาษี (หักออกจาก capital gain) ของผู้เสียภาษี. (Code Sec. 199A(a), as added by Act Sec. 11011)

สรุปคือ ผลรวมของรายได้จากธุรกิจ เท่ากับ 20% ที่หักได้ แต่ต้องไม่เกิน W-2 จากค่าจ้างแรงงาน   เช่น ถ้า 20 เปอรเซ็นของรายได้ มี 10000 แต่จ่ายค่าแรงแค่ 5000 เราเอามาหักได้แค่ 5000 (Code Sec. 199A(b))

 

QBI คือจำนวนสุทธิของ รายได้ กำไรต่าง ๆ หักด้วยค่าใช้จ่ายของธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และผลขาดทุนปีก่อน. (Code Sec. 199A(c)(1), as added by Act Sec. 11011) Code Sec. 864(c)

 

 

ถ้าสมมุตว่าผลที่ออกมาต่ำกว่า ศูนย์ หรือชาวบ้านเรียกกกันว่า “ขาดทุน” เราก็เรียกมานว่า “ขาดทุน”  เราก็เอามาใช้ในปีต่อมาได้ตามกฏหมาย (Code Sec. 199A(c)(2), as added by Act Sec. 11011) QBI ไม่รวม เงินลงทุนบางตัว เช่นพวก guaranteed payment ที่จ่ายให้กับเจ้าของ Code Sec. 707(c); หรือ เงินที่จ้างเจ้าของทำงาน Code Sec. 707(a).  สรุปคือ ผลกำไรขาดทุนสุทธิ ต้องเอามาบวกกลับ เงินที่จ่ายให้เจ้าของนะค้าทุกท่าน เพราะ เท่าที่ทราบ ท่าน ๆ รับเงินจากกิจการเยอะพอสมควร ทั้งเงินเดือน สารพัดนะคะ.

 

The 20% ตัวนี้นะ ไม่อนุญาตให้เราเอาไปหัดจาก adjusted gross income (AGI), แต่ให้เราเอาไปหักออกจากรายได้ก่อนเสียภาษี (Code Sec. 62(a), as added by Act Sec. 11011(b))

 

ขัอจำกัด ค่าลดหย่อนที่จะหักได้ต้องไม่เกินดังนี้:

  • (1)  50% ของ W-2 ค่าจ้างที่เราจ่ายให้กับกิจการ (“W-2 wage limit”), or หรือ

  • (2)  ผลรวมของ 25% ของ W-2  ค่าจ้าง รวม 2.5% ของมูลค่าของกิจการที่เราได้ซื้อมา  เช่น เราไปซื้อกิจการร้านอาหารมา แสนเหรียญ เราก็ใช้ 25 % of W2 + 2%x $100,000. 199A(b)(6)

สำหรับกลุ่ม partnership or S corporation, หุ้นส่วน ที่รับเงินเดือน W-2 เงินเดือน จะมีข้อจำกัด ในการใช้  ที่ $315,000 สำหรับคู่สมรสยื่นร่วมกัน ($157,500 บุคคลทั่วไป),

 

สำหรับกลุ่ม ร้าน อาหาร รวมทั้ง นักบัญชี นักกฏหมาย  จะมี ข้อจำกัดไว้ ทีพูดไว้ข้างบน  https://www.irs.gov/pub/irs-wd/201436001.pdf , ยกเวนกลุ่มวิศวกร the service business limitation begins phasing out in the case of a taxpayer whose taxable income exceeds $315,000 for married individuals filing jointly ($157,500 for other individuals), both indexed for inflation after 2018.  The benefit of the deduction for service businesses is phased out over the next $100,000 of taxable income for joint filers ($50,000 for other individuals). (Code Sec. 199A(d)) The deduction also does not apply to the trade or business of being an employee.

 

กลุ่มทำการเกษตร ก็จะได้สิทธิ หักลดหย่อน 20 เปอรเซ็น เช่นกัน

 

อ่านหลายรอบมาก เพราะต้องการหาข้อมูลให้ตัวเองและกลุ่มลูกค้า ร้านอาหาร และลงทุนประเภทต่าง ๆ

สรุปคือก็ได้เปรียบอยู่เหมือนกันและได้สิทธิ์เช่นกัน เพราะ น้อยมากที่จะเจอกลุ่มคู่สมรส มีรายได้ ที่ 300000 ต่อปีหลังหักค่าใช้จ่าย

 

ที่มา                                         : จากข่าวสารการเผยแพร่ทางภาษีอากร และ เวบไซด์ทั่วไป

เรียบเรียงโดย                         :แหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์, ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ไม่ใช่ทนาย ขอย้ำ)

วันที่                              : 29 ธันวาคม 2560 (2017)

 

 

 

**I am not an attorney, this article is only for information and comments about taxes.**

**ดิฉันไม่ใช่ทนายค่ะ บทความนี้ทำเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายภาษีอากรเท่านั้น.**